วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552

The florest in Thailand!!!!!!!!!


ป่าไม้ของประเทศไทยสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ ป่าไม้ไม่ผลัดใบ และป่าไม้ผลัดใบ
สำหรับป่าไม้ไม่ผลัดใบนั้นมีประมาณ 30 % ของเนื้อที่ป่าทั้งประเทศ แบ่งออกได้อีก 4 ชนิด ดังนี้
ป่าดิบเมืองร้อน (Tropical Evergreen Forest) เป็นป่าที่อยู่ในเขตที่มีมรสุมพัดผ่านอยู่เกือบตลอดทั้งปี มีปริมาณน้ำฝนมาก ดินมีความชื้นอยู่ตลอดเวลา ขึ้นอยู่ทั้งในที่ราบและที่เป็นภูเขาสูง มีกระจายอยู่ทั่วไปตั้งแต่ภาคเหนือไปถึงภาคใต้ แบ่งย่อยตามสภาพความชุ่มชื้นและความสูงต่ำของภูมิประเทศ คือ ป่าดิบชื้น (Tropical Rain Forest) ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) และ ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
ป่าสน (Coniferous Forest) ป่าสนมีกระจายอยู่เป็นหย่อมๆ ตามภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ยังมีอยู่ตามที่เขาและที่ราบบางแห่งที่มีระดับสูงจากน้ำทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป บางครั้งพบขึ้นอยู่ปนกับป่าแดงและป่าดิบเขา ป่าสนมักขึ้นในที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่ค่อนข้างแห้งแล้ง
ป่าพรุ (Swamp Forest) คือป่าที่อยู่ตามที่ราบลุ่มมีน้ำขังอยู่เสมอและตามริมฝั่งทะเลที่มีโคลนเลนทั่วๆ ไป ปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 2,000 ม.ม ต่อปี แบ่งย่อยได้เป็น 2 ชนิด คือ ป่าพรุหรือป่าบึงน้ำจืด (Fresh Water Swamp Forest) และ ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest)
ป่าชายหาด (Beach Forest) เป็นป่าที่มีอยู่ตามชายฝั่งทะเลที่เป็นดินกรวด ทรายและโขดหินพันธุ์ไม้จะต่างจากที่ที่น้ำท่วมถึง ถ้าชายฝั่งเป็นดินทรายก็มีสนทะเล พืชชั้นล่างก็จะมีพวกตีนนก และพันธุ์ไม้เลื้อยอื่นๆ อีกบางชนิด ถ้าเป็นกรวดหรือหิน พันธุ์ไม้ที่ขึ้นส่วนใหญ่ก็เป็นพวกกระทิง หูกวาง เป็นต้น
สำหรับป่าไม้ผลัดใบ (Deciduous Forest) แบ่งได้ 3 ชนิด คือ
ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) ป่าชนิดนี้มีอยู่ทั่วไปในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป่าชนิดนี้มักจะมีไม้สักขึ้นอยู่ปะปนทั่วไป ลักษณะของป่าเบญจพรรณเป็น ป่าโปร่งประกอบด้วยต้นไม้ขนาดกลางเป็นส่วนมาก พื้นที่ป่าไม่รกทึบมีไม้ไผ่ชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่มาก ในฤดูแล้งต้นไม้ทั้งหมดจะพากันผลัดใบและมีไฟป่าไหม้อยู่ทั้งปี
ป่าแพะ ป่าแดง ป่าโคก หรือป่าเต็งรัง (Deciduous Dipterocarp Forest) ป่าชนิดนี้ปรากฏอยู่มากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งนับว่ามีมากที่สุด คือประมาณ 70-80% ของป่าชนิดต่างๆ ที่มีอยู่ ในภาคนี้ทั้งหมด ป่าชนิดนี้มีอยู่ทั่วไปทั้งที่ราบและที่เขาสูง ดินมักเป็นทรายและลูกรัง ซึ่งจะมีสีค่อนข้างแดง ในบางแห่งจึงเรียกว่าป่าแดง ส่วนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีป่าขึ้นตามเนินที่เรียกว่าโคก จึงเรียกว่าป่าโคก ลักษณะป่าชนิดนี้เป็นป่าโปร่งมีต้นไม้ขนาดเล็กและขนาดกลางขึ้น อยู่กระจัดกระจาย พื้นป่าไม้รกทึบ มีหญ้าชนิดต่างๆ และไม้ไผ่ขึ้นอยู่ทั่วไป
ป่าหญ้า (Savanna Forest) เป็นป่าที่เกิดหลังจากที่ป่าชนิดอื่นๆ ถูกทำลายไปหมด ดินเสื่อมโทรม ต้นไม้ไม่อาจเจริญเติบโตต่อไปได้ พวกหญ้าจึงเข้ามาแทนที่พบได้ทุกภาคในประเทศ หญ้าที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าคาแฝกหอม เป็นต้น และอาจมีต้นไม้ขึ้นบ้าง เช่น กระโดน กระถินป่า ประดู่ซึ่งเป็นพวกทนทานไฟป่าได้ดี

วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552

Pandaaaaaa!!!


Le Panda géant (熊貓 en pinyin :熊 xióng « ours »; 貓 māo « chat »), Ailuropoda melanoleuca (« pied-de-chat noir et blanc »), est un mammifère habituellement classé dans la famille de l'ours (Ursidae), indigène dans la Chine centrale.
Il ne vit que dans le centre de la Chine, dans des régions montagneuses recouvertes de forêts d'altitude, comme le Sichuan et le Tibet, entre 1 800 et 3 400 mètres. Une région difficile d'accès aux Européens avant le milieu du XIXe siècle, ce qui explique sa description tardive en Occident.
Morphologiquement, son nom chinois est « chat-ours ». En tibétain son nom est byi-la dom (chat-ours). Le nom latin scientifique du Panda géant est Ailuropoda melanoleuca, melanoleuca signifiant « noir-blanc ».
On le lie également au Panda rouge, mais le nom commun semble dériver de leur alimentation. Jusqu'à ce que sa relation avec le Panda rouge ait été découverte en 1901, le Panda géant était connu sous le nom de « parti-coloured bear ».
La classification taxonomique précise du panda a longtemps été discutée ; certains le considèrent plus étroitement lié aux ratons laveurs (Procyonidae) qu'aux ours, avec lesquels il a pourtant 90 % de patrimoine génétique commun.
L'espèce Ailuropoda melanoleuca ne contient qu'une seule sous-espèce, Ailuropoda melanoleuca qinlingensis , le Panda de Qinling

วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552

I... LoVe... DeSSeRT...


Dessert is a course that typically comes at the end of a meal, usually consisting of sweet food but sometimes of a strongly-flavored one, such as some cheeses. The word comes from the French language as dessert and this from Old French desservir, "to clear the table" and "to serve." Common desserts include cakes, cookies, fruits, pastries, ice cream, and candies.
The word dessert is most commonly used for this course in U.S., Canada, Australia, and Ireland, while sweet, pudding or afters would be more typical terms in the UK and some other Commonwealth countries, including India. According to Debrett's, pudding is the proper term, dessert is only to be used if the course consists of fruit, and sweet is colloquial. This, of course, reflects the upper-class/upper-middle-class usage. More commonly, the words simply form a class shibboleth; pudding being the upper-class and upper-middle-class word to use for sweet food served after the main course, sweet, afters and dessert being considered non-U. However, dessert is considered slightly better than the other two, owing to many young people, whose parents say pudding, acquiring the word from American media. Although the custom of eating fruits and nuts after a meal may be very old, dessert as a standard part of a Western meal is a relatively recent development.[citation needed] Before the rise of the middle class in the 19th-century, and the mechanization of the sugar industry, sweets were a privilege of the aristocracy, or a rare holiday treat. As sugar became cheaper and more readily available, the development and popularity of desserts spread accordingly.
Some have a separate final sweet course but mix sweet and savory dishes throughout the meal as in Chinese cuisine, or reserve elaborate dessert concoctions for special occasions. Often, the dessert is seen as a separate meal or snack rather than a course, and may be eaten apart from the meal (usually in less formal settings). Some restaurants specialize in dessert. In colloquial American usage "dessert" has a broader meaning and can refer to anything sweet that follows a meal, including milkshakes and other beverages.
Desserts are often eaten with a dessert spoon, intermediate in size between a teaspoon and a tablespoon.